Download 01402313 Biochemistry II

Survey
yes no Was this document useful for you?
   Thank you for your participation!

* Your assessment is very important for improving the workof artificial intelligence, which forms the content of this project

Document related concepts
no text concepts found
Transcript
01402313 Biochemistry II
19 Nov 2014
Metabolic Integration
(เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
1
แบ่งเมแทบอลิซึมเป็ น 3 ส่วน
1. Catabolism
- สารอาหารที่เป็ นแหล่งพลังงาน ถูกออกซิไดซ์เป็ น CO2 และ H2O
- อิเล็กตรอนส่งให้ออกซิเจนผ่าน electron transport chain
- เข้า oxidative phosphorylation
- สร้าง ATP
- อิเล็กตรอนบางส่วนไปรีดิวซ์ NADP+ เป็ น NADPH ใช้ใน
anabolism
2
แบ่งเมแทบอลิซึมเป็ น 3 ส่วน
Catabolism ประกอบด้วย
- Glycolysis
- Citric acid cycle
- Electron transport and oxidative
phosphorylation
- Pentose phosphate pathway
สารตัวกลางต่าง ๆ ใน pathway เหล่านี้ ก็ทาหน้าที่เป็ น
substrate ใน anabolism ด้วย
3
แบ่งเมแทบอลิซึมเป็ น 3 ส่วน
2. Anabolism
- เป็ นปฏิกิริยาการสังเคราะห์โมเลกุลต่าง ๆ ภายในเซลล์
- ด้วยเหตุผลทางเทอร์โมไดนามิกส์ ทาให้เคมีของ anabolism
สลับซับซ้อนกว่า catabolism (ใช้พลังงานมากกว่าและมีหลาย
ขั้นตอนกว่า)
- ส่วนมากใช้สารตัวกลางที่มาจาก glycolysis และ citric acid
cycle โดยใช้ NADPH เป็ น reducing power และใช้
ATP เป็ นแหล่งพลังงาน
4
แบ่งเมแทบอลิซึมเป็ น 3 ส่วน
3. Macromolecular synthesis and growth
- สารที่ได้จาก anabolism เป็ นองค์ประกอบในการสร้างสารโมเลกุลใหญ่
โดยใช้พลังงานจาก ATP
- การสังเคราะห์โปรตีนใช้พลังงานหลักจาก GTP
- การสังเคราะห์ฟอสโฟลิพิดใช้พลังงานหลักจาก CTP
- การสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรตใช้พลังงานหลักจาก UTP
สารโมเลกุลใหญ่ทาหน้าที่ทางชีวภาพและเป็ นข้อมูล โปรตีน กรดนิ วคลิอิกและลิพิด
จะประกอบตัวเองเป็ นเมมเบรน การเจริญเติบโตคือการรวมตัวของสารโมเลกุล
ใหญ่และแบ่งหน้าที่กบั ข้อมูลไปให้เซลล์ลกู ในระหว่างที่มีการแบ่งเซลล์
5
6
7
8
อวัยวะหลักมีบทบาททางเมแทบอลิซึมเฉพาะด้าน
• สมอง
- มี respiratory metabolism สูง
- ในผูใ้ หญ่ที่กาลังพักผ่อน 20% ของออกซิเจนใช้ในสมอง (แม้จะมี
มวลเพียง 2% ของมวลร่างกาย)
- ไม่มีแหล่งพลังงานสารอง ไม่มีไกลโคเจน โปรตีนที่ใช้ได้ หรือไขมัน
- ใช้พลังงานจาก glucose ที่ส่งมาทางเลือด
- ในสภาวะขาดอาหาร ใช้ ketone bodies
9
อวัยวะหลักมีบทบาททางเมแทบอลิซึมเฉพาะด้าน
• กล้ามเนื้ อ
- ในขณะพักผ่อน ใช้ออกซิเจนประมาณ 30% ของร่างกาย
- ขณะออกกาลังกายอย่างหนัก อาจเกิดเมแทบอลิซึมถึง 90% ของ
ร่างกาย
- ขณะพัก กล้ามเนื้ อใช้กรดไขมันอิสระ กลูโคสหรือ ketone
bodies เป็ นแหล่งพลังงาน โดยมีไกลโคเจนสะสมอยู่ 2% และมี
phosphocreatine 0.08%
- phosphocreatine ใช้ในการสร้าง ATP
10
อวัยวะหลักมีบทบาททางเมแทบอลิซึมเฉพาะด้าน
• หัวใจ
- กล้ามเนื้ อหัวใจมี mitochondria มาก ใช้พลังงานจากกรดไขมัน
เป็ นหลัก มี phosphocreatine และไกลโคเจนสะสมอยูเ่ พียง
เล็กน้อย
11
อวัยวะหลักมีบทบาททางเมแทบอลิซึมเฉพาะด้าน
• adipose tissue
- มี triacylglycerol สะสมอยูไ่ ด้ถึง 65% ของน้ าหนัก ในรูป
oil droplets
- นอกจากเป็ นพลังงานสะสมแล้ว ยังมีการสังเคราะห์และย่อยสลายอยู่
ตลอดด้วย
12
อวัยวะหลักมีบทบาททางเมแทบอลิซึมเฉพาะด้าน
• ตับ
- เป็ นศูนย์กลางของเมแทบอลิซึมในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
- สารอาหารส่วนใหญ่ไปยังตับเพื่อย่อยสลายและส่งต่อไป (ยกเว้น
triacylglycerol จากอาหาร ซึ่งจะเกิดเมแทบอลิซึมส่วนใหญ่ใน
adipose tissue)
13
14
Related documents