Download เอกสารประกอบการสอนของ อ.ดำรงศักดิ์ เป๊กทอง 1

Survey
yes no Was this document useful for you?
   Thank you for your participation!

* Your assessment is very important for improving the workof artificial intelligence, which forms the content of this project

Document related concepts
no text concepts found
Transcript
เภสั ชพลศาสตร์
(Pharmacodynamics)
อ.ดารงศักดิ์ เป๊ กทอง M.Sc.(Pharmacology)
ภาควิชาเภสั ชกรรมปฏิบัติ
คณะเภสั ชศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร
เภสั ชพลศาสตร์
(Pharmacodynamics)
• เป็ นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับผลทางด้ านชีวเคมี
และสรีรวิทยา รวมถึงกลไกการออกฤทธิ์ของ
ยา ทัง้ ในด้ านฤทธิ์ในการรักษาและฤทธิ์อัน
ไม่ พงึ ประสงค์ ได้ แก่ อาการข้ างเคียงและพิษ
ของยา
Pharmacodynamics
Action & Effect
(How?) (What?)
Action Effect
D + R DR
Responses
What does the drug do ?
•Opium & alcohol ……………….Pain
•Colchicine…………………………..Gout
•Salicin………………………………..Fever
•Castor oil…………..….Constipation
Effect
The effect produced by a drug can
be measures and expressed only
in term of an alteration of some
known functions or processes
that maintain the existence of the
organism.
“Agonist-Antagonist”
How does the drug do ?
(Mechanism of Action?)
•Opium & alcohol……………..?
•Colchicine……………………….…?
•Salicin…………………………...…..?
•Castor oil………….………..……..?
กลไกการออกฤทธิ์
(Mechanisms of action)
• การออกฤทธิ์ผ่านตัวรั บ
(receptor-mediated action)
• การออกฤทธิ์โดยไม่ ผ่านตัวรับ
(non-receptor-mediated action)
การออกฤทธิ์ผ่านตัวรั บ (1)
(Receptor-mediated action)
• Receptor คือ โมเลกุลหรือโครงสร้ างที่ทา
หน้ าที่จับกับยาหรือฮอร์ โมนแล้ วก่ อให้ เกิด
การเปลี่ยนแปลงการทางานของเซลล์ หรือ
เอนไซม์ receptor ส่ วนใหญ่ มีคุณสมบัตเิ ป็ น
พวกโปรตีน
Receptor ตัวรับ
ลักษณะของตัวรับ
• receptor for transmitter ex. Neurotransmitter,
hormone, autacoid, chemokine--->
PHYSIOLOGICAL RECEPTOR
• enzyme ex. HMGCoA Reductase -Statin drug
+
+
• transport protein ex. Na /K ATPase-digitalis
• structure ex. Tubulin-colchicine
Receptor ตัวรับ
• Specific ต่ อสารสื่ อหรื อ ยาที่มีโครงสร้ างเฉพาะ
• มี Affinity ต่ อสารสื่ อหรื อยาสู ง
• แรงยึดเหนี่ยวระหว่างยากับตัวร ับ
มักเป็ น weak bond ex.Hydrogen bond, Van der
Wall’s force, hydrophobic interaction, Ionic bond
• Agonist ชุดหนึ่ง เมื่อกระตุ้นเนื้อเยื่อหลายชนิด มี
ลาดับความแรงของสารแต่ ละตัวต่ างกัน--->
Receptor subtype
Term
• Ligand
• Agonist
• Antagonist
• orphan receptor
การออกฤทธิ์ผ่านตัวรั บ (2)
(Receptor-mediated action)
Cytoplasmic receptor
• Protein synthesis-regulating
receptors
Membrane receptor
• ion channel receptor
• Ligand-regulated enzyme receptor
• G protein-coupled receptor
Cytoplasmic receptor
• Protein synthesis-regulating receptors
• ligand ex. Glucocorticoid, minerocorticoid,
sex steriod, vitamin D, thyroid hormone
• bind to DNA-->at Hormone Responsive
Element HRE--->transcription--->protein
synthesis--->Altered cell function
• มักแสดงผลช้ าและฤทธิ์ของยามักคงอยู่นาน
Protein synthesis-regulating
receptors
Membrane receptor
1. ion channel receptor
• ควบคุมการเปิ ดปิ ดของ ion channel โดย 2 กลไก
คือ - โดย agonist (ligand-gated channel)
ex. Glutamate, Glycine, 5-HT3, GABA,
nicotinic receptor
- โดยศักย์ ไฟฟ้ าภายในเซลล์ (voltage-gated
channel) ex. Na+, K+, Ca2+ channel
• การถ่ ายทอดสัญญานของ agonist กับ receptor
เกิดเร็วมากและสิน้ สุดเร็วเช่ นกัน (msec)
Ligand-gated ion channel
Nicotinic receptor
5 subunit: 2a, b, d, g
Ach จับ 2 molecule
Na+ ผ่ านเข้ า cell
depolarization ของ motor
end-plate
muscle action potential
contraction of muscle
Membrane receptor
2. Ligand-regulated enzyme receptor
• integral protein อยู่นอกเซลล์ -receptor domain
• ภายในเซลล์ Tyrosine kinase domain ทาหน้ าที่
phosphorylate target protein (structure or
regulatory protein ที่ amino acid ตาแหน่ ง tyr)
• ligand ex. Insulin, Epidermal growth factor EGF,
platelet-derived growth factor PDGF, Atrial
natriuretic factor ANF
Ligand-regulated enzyme
Dimerization
Phosphorylation at Tyrosine
target protein/enzyme
regulation gene
glucose uptake
amino acid uptake
control glycogen and
triglyceride metabolism
Membrane receptor
3. G-protein couple receptor
• พบมากที่สุด ประกอบด้ วย receptor domain และ
ส่ วนของproteinที่ต้องการ GTP เป็ น cofactor
(G-protein)
• receptor domain เป็ น protein ขดตัวแบบ 7 alpha
helix มี C-terminal อยู่ภายในเซลล์
• G-protein : 3 subunits a, b, g
• G-protein มีความหลากหลาย esp ที่ a subunit Gs, Gi, Gq, Golf
Membrane receptor
3. G-protein couple receptor
• Effector ภายในเซลล์ = Adenylyl cyclase (AC) หรือ
Phospholipase C/D (PLC,PLD)
• AC---> สังเคราะห์ cAMP--> activate protein kinase C
• PLC---> สลาย phosphatidyl inositol-4,5-bisphosphate
(PIP2) ได้ inositol triphosphate (IP3) และ
diaccylglycerol (DAG)
IP3---> Ca2+ release from endoplasmic reticulum
DAG--> activate protein kinase C
(lipase,glycogen syntase)
G protein-coupled receptor
G protein
Receptors for
Gs
b-adrenergic amines
glucagon, histamine,
serotonin and many
other hormones
Gi1, Gi2,
Gi3
a-adrenergic amines,
acetylcholine
(muscarinic), opioids,
serotonin, and many
others
Effector/signaling
Pathway
ญ adenyl cyclase ฎ
ฏ cAMP
several, including
ฏ adenyl cyclase ฎ
ฏ cAMP
Open cardiac K+
channels
G protein
Golf
G0
Gq
Gt1, Gt2
Receptors for
Effector/signaling Pathway
odorants (olfactory
ญ adenyl cyclase ฎ
epithelium
ฏ cAMP
neurotransmitters
Not yet clear
in brain (not yet
specially identified)
Acetylcholine
ญ phospholipase C
(muscarinic)
ฎ ญ IP3, DAG
serotonin (5-HT1C),
cytoplasmic Ca2+
bombesin and many others
Photon (rhodopsin
ญ cCMP
and colour opsins
PDE ฎ ฏ cGMP
in retinal rod and cone cell
ชนิดของ Second messengers
• cAMP (cyclic adenosine-3’,5’-monophosphate)
•
2+
Ca ,
DAG และ IP3
• cGMP (cyclic guanosine-3’,5’-monophosphate)
cAMP
• Adenylate cyclase
• Protein kinase A
• Phosphodiesterase
2+
Ca
และ IP3
• PLC (Phospholipase C)
• PIP2 (Phosphatidylinositol 4,5-bisphosphate)
• IP3 (1,4,5-inositol triphosphate) และ
DAG (diacylglycerol)
• Release of Ca2+ from storage
• Protein kinase C
cGMP
• พบในเซลล์ บางชนิดเท่ านัน้ เช่ นใน intestinal
mucosa และ vascular smooth muscle
• cGMP ถูกสร้ างจาก GTP โดยเอนไซม์
guanylyl cyclase
• กระตุ้นการทางานของ cGMP-dependent
protein kinase
Receptor
• Up regulation เกิดจากการจับของ receptor กับ
antagonist นานๆ
• Down regulation, Desensitization-->เกิดจากการจับ
ของ receptor กับ agonist นานๆ
• Mechanism อาจเกิด phosphorylationที่ C-terminal
ของ G-protein receptor ทาให้ จับกับ agonist ไม่ ได้
• เกิด receptor mediated endocytosis
 Affinity
Drug action
is the tendency to bind to receptors
 Efficacy
is the relationship between receptor
occupancy and the ability to initiate a
response at the molecular cellular, tissue
or system levels.
 Intrinsic activity
is the capacity of a single drug receptor complex to evoke a response
Drug-Receptor Interactions
(Molecular level)
Affinity vs. Efficacy
D+R
k1
k2
DR
Affinity=k1/k2
k3
response
Efficacy=k3
Specific Action
(เช่ น Histamine vs. Alcohol)
Potency
Biological
specificity
Chemical specificity
Existence of specific antagonist
ยาจะออกฤทธิ์ได้ มากหรื อน้ อยขึน้ อยู่กบั
• affinity
คือ ความชอบของยา หรือฮอร์ โมน
ใน การจับกับ receptors
• intrinsic activity
คือความสามารถ ใน
การที่จะก่ อให้ เกิดการ เปลี่ยนแปลงในการ
ทางานของ effectors นัน้ ๆ ภายหลังจากที่ยา
จับกับ receptor
การจาแนกชนิดของยาตาม
ลักษณะการจับกับ receptor
• Agonist
• Antagonist
• Partial agonist
Agonist
describes binding of a drug to a
receptor so activating the receptor to
produce molecular and cellular
response
• คือ ยาที่มีความชอบในการจับ receptor
และก่ อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง (มีทงั ้
affinity และ intrinsic activity)
Antagonist
describes binding of a drug to a
receptor that prevents a response
to an agonist occurring
• คือยาที่มีความชอบในการจับกับ receptor แต่
จะไม่ ก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ (มี
affinity แต่ ไม่ มี intrinsic activity)
• ในภาวะที่มี antagonist อยู่ร่วมกับ agonist
antagonist จะยับยัง้ การออกฤทธิ์ของ agonist
Partial agonist
describes binding of a drug to a
receptor producing relatively
ineffective response
• คือ ยาที่จับกับ receptor ได้ แต่ ให้ ผลในการ
ตอบสนอง น้ อยกว่ า agonist กล่ าวคือ มี
maximum effect น้ อยกว่ า agonist
Antagonist inhibition
• Competitive inhibition: แย่ งจับที่ receptor
เดียวกันกับ agonist, maximum effect ไม่
เปลีย่ น
• Non-competitive inhibition: แย่ งจับ receptor
คนละตาแหน่ งกับ agonist, maximum effect
ลดลง
Competitive inhibition
Non-competitive inhibition
การออกฤทธิ์ของยาโดยไม่ ผ่าน receptor
(Non-receptor-mediated action)
• ออกฤทธิ์โดยการจับโดยตรงกับโมเลกุล
หรือ ions ต่ างๆ หรือออกฤทธิ์โดยอาศัย
คุณสมบัติ ทางกายภาพของตัวยาเอง
For example
ยาลดกรดซึง่ มีคุณสมบัตเิ ป็ นด่ าง ออก
ฤทธิ์โดยการ neutralize กรดในกระเพาะ
อาหาร
 mannitol ทาให้ เกิดการเพิม่ osmolarity
ของของเหลวในร่ างกาย e.g. diuresis,
catharsis, decrease cerebral edema
ค่ าที่แสดงความปลอดภัยของยา
• ค่ าดัชนีในการรักษา
(therapeutic index, TI)
• ค่ าความปลอดภัยในการใช้ ยา
(standard margin of safety, SMS)
พิษของยา
• ค่ าที่แสดงความเป็ นพิษของยา คือ
Median lethal dose (LD50)
Therapeutic Index
TI = TD50
ED50
TD50 (median toxic dose)หรื อ LD50 = ขนาดยา
ที่ทาให้ เกิดพิษหรื อเสี ยชีวติ ร้ อยละ 50
ED50 (median effective dose) = ขนาดยาที่ให้ ผล
ในการรักษาร้ อยละ 50 ของผู้ทไี่ ด้ รับยา
Standard margin of safety
SMS = (TD1- ED99) X 100
ED99
TD1 = ขนาดยาที่ทาให้ เกิดอาการพิษร้ อยละ 1
ED99 = ขนาดยาที่ให้ ผลการรักษาร้ อยละ 99
Drug interaction
• Pharmacokinetic interaction
• Pharmacodynamic interaction
• Physiological synergism
• Pharmaceutical interaction
Drug interaction
Result in
• Additive 1+1=2 ex. histamine+Ach ขยาย
หลอดเลือด
• Synergism 1+1>2 ex. alcohol+barbiturate
• Potentiation 1+0=2 ex. CCl4+isoproterinol
• Antagonism
Tolerance: การตอบสนองของยามีความแรง
ลดลง
• metabolic tolerance
• down regulation of receptor
• behavioral adaptation
Drug dependence, withdrawal symptom
• physical dependence
• psychological dependence
Cross tolerance and cross dependence
Related documents