Download ดาวน์โหลดเอกสาร คลิ๊กที่นี่

Survey
yes no Was this document useful for you?
   Thank you for your participation!

* Your assessment is very important for improving the workof artificial intelligence, which forms the content of this project

Document related concepts
no text concepts found
Transcript
Home care
พญ.ปิ ยฉัตร ดีสุวรรณ
วว.เวชศาสตร์ครอบครัว
กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลแพร่
ที่มา : พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
ทีม่ า : พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
คานิยาม
• Home care: การบริการดูแลสุ ขภาพทีบ่ ้ าน
การบริ หารให้มีการจัดบริ การเต็มรู ปแบบที่เหมาะสมสาหรับผูป้ ่ วยและ
ครอบครัวรายหนึ่งๆ
• Home visit: การเยีย่ มบ้ าน
เป็ นส่ วนหนึ่งของ Home care โดยแพทย์จะออกไปเยีย่ มผูป้ ่ วยและ
ครอบครัวที่บา้ น
• House call: การรับปรึกษาปัญหาสุ ขภาพทางโทรศัพท์
รู ปแบบหนึ่งของ Home care เปิ ดโอกาสให้ผปู ้ ่ วยและญาติมีช่องทางที่จะ
ดูแลสุ ขภาพตนเองที่บา้ นด้วยการโทรศัพท์มาปรึ กษา
Holistic Medicine
Family
Person
• Who, Life cycle
• Development
• Family of Origin
•Family System
•Family Life cycle
•Family Stress
•Family Coping
•Family Resource
•Impact on
Health
Community
•Pt.& Fam Role
•Resource
•Work
•School
•Culture
•Religion
Illness
Disease
ที่มา : สายพิณ หัตถีรัตน์
วัตถุประสงค์ของการเยีย่ มบ้าน
1. สร้างความมัน่ ใจให้ผปู ้ ่ วยและญาติ และพึ่งตนเองในการดูแลสุ ขภาพ
2. เพื่อให้ญาติรู้วิธีในการอยูร่ ่ วมกับผูป้ ่ วยและร่ วมดูแลรักษาผูป้ ่ วย
3. แพทย์สามารถประเมินทั้ง โรค และ ความเจ็บป่ วย ที่แท้จริ งได้
ถูกต้อง ครอบคลุม
4. แพทย์ทาความรู ้จกั และ สร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ผูป้ ่ วยและญาติ
ในระยะยาว
5. สามารถประเมินความเสี่ ยงและแนวทางที่จะลดความเสี่ ยง
“ไม่ ใช่ ทดแทน Acute hospital care”
ประเภทของการเยีย่ มบ้ าน
1. เยีย่ มบ้านคนป่ วย : ฉุกเฉิน เฉียบพลัน เรื้ อรัง
2. เยีย่ มบ้านคนใกล้ตาย : ดูแลผูป้ ่ วยระยะสุ ดท้าย
3. เยีย่ มบ้านเพื่อประเมินสภาวะสุ ขภาพ : ในรายที่ตอ้ งใช้ยาหรื อการ
รักษาที่ซบั ซ้อน รายที่มาใช้บริ การการรักษาเกินความจาเป็ น รายที่มา
รับบริ การลาบาก
4. เยีย่ มบ้านเพื่อติดตามผูป้ ่ วยหลังออก
จากโรงพยาบาล
ควรเยีย่ มบ้านในกรณี ….
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ผูป้ ่ วยที่มีภาวะเจ็บป่ วยเฉี ยบพลัน
ผูป้ ่ วยหลังออกจากโรงพยาบาล แต่ยงั ต้องการการดูแลต่อเนื่อง
หญิงหลังคลอด
มีสมาชิกในครอบครัวที่ตอ้ งการการดูแลอย่าง ต่อเนื่อง
มีสมาชิกในครอบครัวป่ วยด้วยโรคเรื้ อรัง และมีปัญหาในการเดินทางมาตรวจที่
โรงพยาบาล ทั้งปั ญหาทางกายและเศรษฐกิจ
มีสมาชิกในครอบครัวป่ วยด้วยโรคระยะสุ ดท้ายหรื อภาวะวิกฤตที่ไม่ตอ้ งการการ
รักษาเพิม่ เติมในโรงพยาบาล
ครอบครัวที่มีปัญหาทางกาย จิต สังคม หรื อเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อสุ ขภาพ
ผูป้ ่ วยหรื อสมาชิกครอบครัวขอให้ติดตามเยีย่ มบ้าน
ผูป้ ่ วยที่อยูต่ ิดบ้าน (home bound)
พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
แนวทางการเยีย่ มบ้ าน
1. ประเมินปัญหาสุ ขภาพและความต้องการของครอบครัว
2. วางแผนเพื่อช่วยเหลือครอบครัว
3. ปฏิบตั ิตามแผน
4. ประเมินผล
แนวทางการเยีย่ มบ้าน
1. การประเมินปัญหาสุ ขภาพและความต้องการของครอบครัว
รวบรวมข้อมูล : FF, OPD card, สัมภาษณ์
ทดสอบความแม่นยาของข้อมูล : ข้อมูลมีโอกาสคลาดเคลื่อน
แปลความหมายและวิเคราะห์ขอ้ มูล : วินิจฉัยปัญหาครอบครัว
(health defect, health threat, crisis
situation)
2.
วางแผนช่วยเหลือครอบครัว
กาหนดเป้าหมายระยะสั้นและระยะยาว
ให้ผปู ้ ่ วยและครอบครัวมีส่วนร่ วมในการวางแผน
3. ปฏิบตั ิตามแผน
ก่อนเยีย่ มบ้าน : เตรี ยมข้อมูล แบบบันทึกการเยีย่ มบ้านและ อุปกรณ์
กาหนดวัตถุประสงค์ของการเยีย่ มให้ชดั
อุปกรณ์ในการเยีย่ มบ้าน
•
•
•
•
•
•
•
•
แผนที่
FF
ใบสัง่ ยา
ถุงมือแบบใช้แล้วทิ้ง
ปรอทวัดไข้
ไม้กดลิ้น
ไฟฉาย
หูฟัง
• เครื่ องวัดความดันและที่พนั ขนาด
ต่างๆ
• เครื่ องตรวจหูและตา
• เจลหล่อลื่น
• อื่นๆ ตามความจาเป็ นเช่น ชุดทา
แผล ชุดตรวจระดับน้ าตาล แผ่น
พับเรื่ องโรคต่างๆ เครื่ องชัง่
น้ าหนัก คอมพิวเตอร์
พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
Immobility (การเคลื่อนไหว)
• ประเมิน ADL ( activities of daily living )
1. การอาบนา้
2. การเคลื่อนย้ าย
3. การแต่ งตัว
4. การขับถ่ าย
5. การรับประทานอาหาร
Immobility (การเคลื่อนไหว)
• ประเมิน IADL (instrumental activities of daily living )
1. การใช้ โทรศัพท์
2. การรับประทานยา
3. การไปตลาด
4. การชาระบิล
5. การเตรียมอาหาร
6. การทางานบ้ าน
Nutrition ( อาหาร )
• ประเมินลักษณะอาหาร , ชนิดของอาหาร ทีผ่ ู้ป่วยและ
ครอบครัวรับประทานว่ าเหมาะสมกับโรคหรื อไม่ ประเมิน
การเก็บอาหาร
Housing
• ประเมินสภาพบ้ านของผู้ป่วย
เหมาะสมกับสภาวะของโรคที่
ผู้ป่วยเป็ นหรื อไม่ เช่ น ผู้ป่วยที่
เป็ นโรคข้ อเข่ าเสื่ อมควรที่จะมี
ห้ องนอนทีช่ ้ัน 1 ของบ้ าน ไม่
เดินขึน้ บันได
Other people (เพื่อนบ้ าน)
• ประเมินความสั มพันธ์ กบั เพื่อนบ้ าน
• เมื่อครอบครัวของผู้ป่วยมีปัญหา เพื่อนบ้ านสามารถให้ การ
ช่ วยเหลือได้ หรื อไม่
Medications (การใช้ ยา)
• ประเมินวิธีการใช้ ยา ภาชนะทีบ่ รรจุยา
• การจัดยา
• การเก็บยา
Examinations (การตรวจร่ างกาย)
• ประเมินและตรวจร่ างกายสมาชิกในครอบครัว
Safety
• ประเมินสภาพบ้ านของผู้ป่วย, เฟอร์ นิเจอร์ , อุปกรณ์ อานวย
ความสะดวก ว่ ามีความปลอดภัยเพียงพอสาหรับครอบครัว
หรื อไม่ เช่ น พืน้ ห้ องนา้ ลื่นเกินไป บันไดบ้ านชันหรื อมีราวจับ
หรื อไม่
Spiritual Health (จิตวิญญาณ)
• ประเมินความเชื่ อและคุณค่ าในสิ่ งทีแ่ ต่ ละบุคคลอาศัยอยู่
เรื่ องของความรู้ สึก รวมถึงสิ่ งทีบ่ ุคคลแสดงออกมาจากความ
เชื่ อทางจิตวิญญาณของแต่ ละบุคคล เช่ น นิกายในศาสนาบาง
นิกายห้ ามเติมเลือดจากผู้อื่น
Services (แหล่ งให้ บริการ)
• ประเมินว่ ามีแหล่ งบริการใดบ้ างทีส่ ามารถช่ วยเหลือผู้ป่วยและ
ครอบครัวได้ เช่ น ศูนย์ แพทย์ ชุมชน ศูนย์ สุขภาพชุมชน
• การให้ บริการในแต่ ละครั้ง
เทคนิคที่ใช้ขณะเยีย่ มบ้าน
1.
2.
3.
4.
การสัมภาษณ์
การสังเกต
การให้คาแนะนาและให้คาปรึ กษา
การใช้จิตบาบัด : BATHE technique
Background
Affect
Troubling for the patient
Handling the problem
Empathy
เทคนิคที่ใช้ขณะเยีย่ มบ้าน
5. การตรวจร่ างกาย
6. การรักษา
พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
หลังเยีย่ มบ้าน
1. สรุ ปปัญหาครอบครัว
ประเมินตามวัตถุประสงค์
เยีย่ มบ้านแต่ละครั้งอาจไม่จาเป็ นต้องครอบคลุมทุกด้าน
สรุ ปความช่วยเหลือที่ให้แก่ครอบครัว
วางแผนการเยีย่ มครั้งต่อไป
2. บันทึกข้อมูล : SOAP
SOAP
ประวัติการเจ็บป่ วยสาคัญ
O : objective การตรวจร่ างกายและผลทางห้ องปฏิบัติการ
A : assessment การประเมินและการวินิจฉัย
• S : subjective
•
•
active or inactive
• P : plan
วางแผนติดตามการเยีย่ มบ้ านในครั้งต่ อไป
4. การประเมินผลการให้บริ การ
•
•
•
•
•
เกณฑ์ประเมิน
สังเกตการปรับพฤติกรรม
สอบถาม
ผลการตรวจร่ างกาย
ผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ
พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
Characteristics
•
•
•
•
Holistic approach
Humanized care
Emphasis on self-care
Response to a patient
and family’ needs
• Community participation
พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
Objective
Improve/maintain quality of life
Optimize functional health status
Independence
Home care
Contents
Preventive action and
assessments
Recommendations
Follow up
Care related to individual
needs
Physical
Psychosocial
social
Cognitive
Actions and assessment
After discharge
Assessments
Planning
Implementation
Follow-up
Outcomes
Significant improvement in functional health status
ADL IDL
Social activities
Cognitive status
Improvement/ maintaining quality of life
Well-being
Quality of life
เยีย่ มบ้ านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : CVA
1. ประเมินปัญหาสุ ขภาพและความต้ องการของครอบครัว
PATIENT
PRESENTS
CUES OF UNWELLNESS
DOCTOR SEARCHS
TWO PARALLEL AGENDAS
DOCTOR’S AGENDA
History
Physical Examination
Laboratory Investigation
PATIENT’S AGENDA
Idea
Feelings
Functions
Expectations
DIFFERENTIAL
DIAGNOSIS
UNDERSTANDING
ILLNESS EXPERIENCE
INTEGRATION
ผูป้ ่ วยโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพาต)
DOCTOR SEARCHS
TWO PARALLEL AGENDAS
PATIENT’S AGENDA
DOCTOR’S AGENDA
ประวัติการเจ็บป่ วย: onset
diagnosis
underlying disease
ตรวจร่ างกาย: neurological deficit and
function ADL, IDL
การตรวจ LAB ที่สาคัญ: FBS, Lipid, Renal, CBC
DIFFERENTIAL
DIAGNOSIS and
assess preventable Cx
Idea: ความเข้ าใจ ความคิดเกีย่ วกับโรคที่
เป็ น
Feelings: ความรู้ สึก ผลกระทบ การ
ปรับตัว
Functions: ความสามารถในการทา
กิจกรรมต่ างๆ เปลีย่ นแปลงจากเดิมมั้ย
Expectations: ความคาดหวัง
เกีย่ วกับโรคทีเ่ ป็ น
UNDERSTANDING
ILLNESS EXPERIENCE
INTEGRATION
2. วางแผนเพื่อช่วยเหลือผูป้ ่ วยและครอบครัว
กายภาพบาบัด
กิจกรรมบาบัด
ให้กาลังใจ
ดูแลโรค ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ (UTI, pressure
sore, Stiff joints, recurrent stroke)
• กระตุน้ ให้ครอบครัวมีส่วนร่ วมในการดูแลผูป้ ่ วย
• การช่วยเหลือทางสังคมสงเคราะห์
• ชุมชนมีส่วนร่ วม
•
•
•
•
3. ปฏิบตั ิตามแผนและประเมินผล
•
•
•
•
เยีย่ มบ้านครั้ง 1
เยีย่ มบ้านครั้ง 2
เยีย่ มบ้านครั้ง 3
สิ้ นสุ ดการเยีย่ มบ้าน
Related documents