Download ความร่วมมือฟื้นฟูน้ำท่วม - Tanit Sorat V

Survey
yes no Was this document useful for you?
   Thank you for your participation!

* Your assessment is very important for improving the workof artificial intelligence, which forms the content of this project

Document related concepts
no text concepts found
Transcript
บทบาทภาครัฐ-ภาคเอกชนต่ อการฟื้ นฟูและพัฒนา
อุตสาหกรรมไทยอย่างยัง่ ยืน
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
21 ธันวาคม 2554
ณ ไบเทค บางนา
www.tanitsorat.com
1
ความเสี่ ยงของภาคอุตสาหกรรมไทย
1. AEC/ASEAN+3 : การเปิ ดเสรีด้านการค้ าและการผลิต นามาซึ่งการแข่ งขันที่รุนแรง
 Single Market ตลาดเดียวของ อาเซี ยนเป็ นทั้งโอกาสและภัยคุกคามของ
ภาคอุตสาหกรรมที่ไม่เข้มแข็ง
 กติกาการค้ าโลกเปลีย่ นไป เช่น ASEAN/WTO/WCO
 การกีดกันทางการค้ าในรู ปแบบต่ างๆ เช่น NTB/Anti-Dumping/ PWL : Prority
Watch List / Catch Certification
 Low Price Economy : การเปิ ดตลาดภายในประเทศให้กบั สิ นค้าราคาถูกจาก
ประเทศเพื่อนบ้าน
 Global link Economy : เศรษฐกิจโลกผันผวนกระทบภาคอุตสาหกรรมไทย
(ราคาน้ ามัน/อัตราแลกเปลี่ยน)
www.tanitsorat.com
2
ความเสี่ ยงของภาคอุตสาหกรรมไทย (ต่ อ)
2. Innovation & Technology Changing : การเปลีย่ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีการ
ผลิตใหม่ ๆ
 Digital AGE Make Customer Behavior Change พฤติกรรมการบริ โภคจะเปลี่ยน
การล่มสลายของอุตสาหกรรมซึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริ โภค
เช่น Nano/Bio-Tech , Flat/ TV+ Monitor, Film Industrial
 Online Sociality สังคมการสื่ อสารของคนยุคใหม่ส่งผลต่อนวัตกรรมและการพัฒนาการ
ผลิตให้ทนั กับตลาดและคู่แข่ง เช่น I-Phone /Ipad/ BB Phone/Galaxy SII/Galaxy Note
 นวัตกรรมการกระจายสิ นค้ าของเมกะสโตร์ ส่ งผลต่อการปรับเปลี่ยนสายพานการผลิต
และการวางแผนการผลิตแบบ E-Ordering
 Supply Change Global Trend การจัดการด้านโซ่อุปทาน ทาให้การผลิตเปลี่ยนเป็ น
Cluster Base Production ทาให้แนวโน้มอุตสาหกรรมต้องมีการพึ่งพากันตั้งแต่
ตั้นน้ า- กลางน้ า - ปลายน้ า
www.tanitsorat.com
3
ความเสี่ ยงของภาคอุตสาหกรรมไทย (ต่ อ)
3. Climate Change Content การแปรปรวนของภูมิอากาศส่ งผลกระทบต่ อภาคการผลิต
 Global Warming สภาวะโลกร้อน การเผชิญกับภัยธรรมชาติน้ าท่วม –
ภัยแล้ง – แผ่นดินไหว กระทบต่อความเชื่อมัน่ ของภาคอุตสาหกรรม
 Unpredictable Production Cost ผลผลิตพืชผลการเกษตรแปรปรวน ส่ งผลต่อ
ต้นทุนการผลิตซึ่ งไม่สามารถคาดเดาได้
 Supply Chain Effect ความไม่แน่นอนของเส้นทางโลจิสติกส์ในการป้อน
วัตถุดิบและการส่ งมอบสิ นค้าบนเส้นทางสารอง
www.tanitsorat.com
4
ความเสี่ ยงของภาคอุตสาหกรรมไทย (ต่ อ)
4. Environment & Community Alert การตื่นตัวด้ านสิ่ งแวดล้ อมของชุ มชน
 Industrial & Community Corporation อุตสาหกรรมต้ องอยู่ร่วมกับชุมชนให้ ได้
ชุมชนมีความตื่นตัวด้านผลกระทบมลพิษอุตสาหกรรม มีผลต่อการตั้ง-ขยายโรงงาน หรื อ
กดดันโรงงานออกจากพื้นที่
 Environment Rule รัฐธรรมนูญและชุมชนไทย ให้ ความสาคัญต่ อสิ่ งแวดล้ อม ส่ งผล
กระทบอุตสาหกรรม (EIA/HIA) เช่น กรณี มาบตาพุด – อุตสาหกรรมที่บางสะพาน
 Well Being of Life Alert ชุมชนให้ความใส่ ใจต่อสุ ขอนามัย ส่ งผลต่อการผลิตที่ตอ้ งให้
ความสาคัญต่อการประกันคุณภาพ เช่น สมอ. /อย./ HACCP/Food Safety
 Global Warming Agenda ภาวะโลกร้อนเป็ นวาระของโลก Recycle & Reuse, Carbon
Label /Carbon Footprint/ REACH (เคมี)/ WEEE (ซากผลิตภัณฑ์)
 Eco-Label Community Against Industry ชุมชนใกล้ไม่เอาอุตสาหกรรม
 Green Industrial อุตสาหกรรมสี เขียว
www.tanitsorat.com
5
ความเสี่ ยงของภาคอุตสาหกรรมไทย (ต่ อ)
5. Political Effect การเมืองไร้ ทศิ ทางลดขีดความสามารถในการแข่ งขันและโอกาสของ
ภาคอุตสาหกรรม
 Civic Conflict การเมืองภาคประชาชน(กีฬาสี ) ลดโอกาสต่อการเป็ นศูนย์กลางการ
ผลิตของภูมิภาคและลดความเชื่อมัน่ ต่อการลงทุน
 Wage Intervention การแทรกแซงกลไกค่าจ้าง ส่ งผลต่อต้นทุนการผลิตอย่างรุ่ นแรง
 Populism Policy นโยบายประชานิยมส่ งผลต่อขีดความสามารถในการแข่งขัน
 Immigrant Labor Policy การขาดแคลนแรงงานกับนโยบายที่ไม่ชดั เจนของแรงงาน
ต่างด้าว
 None SMEs Development Solid Policy การขาดนโยบายส่ งเสริ ม SME ที่เป็ น
รู ปธรรม
www.tanitsorat.com
6
ความร่ วมมือของภาครัฐ – เอกชน
ต่ อการพัฒนาอุตสาหกรรมไทยทีย่ งั่ ยืน
Free Trade on Manufacturing
การเปิ ดเสรีการผลิต - บริการ
• Changing Concept : การปรับเปลี่ยนแนวคิดให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง
• Global & Regional Competitiveness : การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
ในทุกมิติ
• Lean & Speed Economy Production : การพัฒนาอุตสาหกรรมไปสู่ กรอบการ
ผลิตที่เร็ วและปรับเปลี่ยนสายการผลิตได้อย่างยืดหยุน่
• Business Plan : การทาแผนธุรกิจให้สอดคล้องกับสถานการณ์
• Productivity Base Production : การผลิตแบบเพิ่มผลิตภาพการผลิตและแรงงาน
www.tanitsorat.com
7
ความร่ วมมือของภาครัฐ – เอกชน
ต่ อการพัฒนาอุตสาหกรรมไทยทีย่ งั่ ยืน (ต่ อ)
Innovation & Technology Change
การเปิ ดเสรีการผลิต - บริการ
• Inno – Tech Production : การปรับเปลี่ยนการผลิตโดยใช้นวัตกรรมและ
เทคโนโลยี
• Wisdom Base Production : การผลิตแบบใช้ปัญญาแทนใช้แรงงานเข้มข้น
• Specialize Production Base : การผลิตสิ นค้าซึ่งมีความได้เปรี ยบและถนัด
www.tanitsorat.com
8
ความร่ วมมือของภาครัฐ – เอกชน
ต่ อการพัฒนาอุตสาหกรรมไทยทีย่ งั่ ยืน (ต่ อ)
Climate Change Content
• Risk Management on Disaster : การจัดตั้งสานักงานเฝ้าระวังและป้องกันภัยพิบตั ิ
แห่งชาติ
• Production Continuity under Global Warning : การผลิตต่อเนื่องภายใต้สภาวะความไม่
แน่นอนของภัยธรรมชาติ
• Floodway City Plan Integration : การจัดสานักงานบูรณาการผังเมืองเพื่อการผันน้ า
• Sourcing under Flood : การวางแผนการกระจายแหล่งวัตถุดิบ และ Supply Chain
ภายใต้สถานการณ์น้ าท่วมในอนาคต
• Disaster Warning : จัดตั้งสานักงานเตือนภัยพิบตั ิแห่งชาติ
• Insurance Funding : การจัดตั้งกองทุนประกันภัยพิบตั ิ
www.tanitsorat.com
9
ความร่ วมมือของภาครัฐ – เอกชน
ต่ อการพัฒนาอุตสาหกรรมไทยทีย่ งั่ ยืน (ต่ อ)
Environment Community Effect
ผลกระทบด้ านสิ่ งแวดล้ อมต่ อชุ มชม
• Friendship Buffer Zone : พันธมิตรกับชุมชนรอบโรงงาน โดยให้ชุมชน
มีส่วนได้ส่วนเสี ยและร่ วมแก้ปัญหา
• Green Factory : โรงงานปลอดมลพิษ เป็ นความยัง่ ยืนของอุตสาหกรรม
• Up stream Industrial Zoning : กาหนดพื้นที่อุตสาหกรรมต้นน้ าที่
ชัดเจน โดยแยกชุมชนออกจากพื้นที่อุตสาหกรรม
• Re-Location Factory : ย้ายฐานการผลิตไปพื้นที่ / ประเทศซึ่งตื่นตัวน้อย
กว่าด้านสิ่ งแวดล้อม
www.tanitsorat.com
10
ความร่ วมมือของภาครัฐ – เอกชน
ต่ อการพัฒนาอุตสาหกรรมไทยทีย่ งั่ ยืน (ต่ อ)
Political Effect
ผลกระทบอุตสาหกรรมไทยต่อนโยบาย
สาธารณะ
(Public
PolicyตEffect)
• Labor Productivity
: การเพิ่มผลิ
ตผลการผลิ
และแรงงานดุลยภาพ
• Machinery Computerize & Concept : การปรับเปลี่ยนเครื่ องจักรแทนแรงงาน
• Logistics Implementary : การลดต้นทุนโลจิสติกส์แบบบูรณาการ
• FDI in Low Cost Countries : การลงทุนในประเทศซึ่งมีตน้ ทุนต่ากว่า โดยเฉพาะประเทศ
เพื่อนบ้าน
• Border Special Economic Zone : การกาหนดพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ในการย้าย
ฐานการผลิตอุตสาหกรรมใช้แรงงานเข้มข้น ไปใช้แรงานต่างด้าว
• Sustainable Economic : การใช้เศรษฐกิจพอเพียงในภาคการผลิต เพื่อให้เกิดความยัง่ ยืนใน
อุตสาหกรรมของไทย
www.tanitsorat.com
11
END
ข้อมูลเพิม่ เติ่ม www.tanitsorat.com
www.fti.or.th
www.tanitsorat.com
12
Related documents