Download การใช้ความหลากหลายของยีน GSTO2 ช่วยพยากรณ์โรคในผู้ป่วยมะเร็ง

Survey
yes no Was this document useful for you?
   Thank you for your participation!

* Your assessment is very important for improving the workof artificial intelligence, which forms the content of this project

Document related concepts
no text concepts found
Transcript
การใช้ ความหลากหลายของยีน GSTO2 ช่ วย
พยากรณ์ โรคในผู้ป่วยมะเร็งลาไส้ ใหญ่ และไส้ ตรง
โดย
ดร. สุ นันทา จริยาเลิศศักดิ์
งานพันธุศาสตร์ กลุ่มงานวิจยั สถาบันมะเร็งแห่ งชาติ
มะเร็งลาไส้ ใหญ่ และไส้ ตรง
• ในประเทศไทยพบผู้ป่วยรายใหม่ ปีละประมาณ 5690 ราย โดยพบ
มากเป็ นอันดับสามในชายไทยและอันดับห้ าในหญิงไทย*
• สาเหตุการเกิด
- ร้ อยละ 5-15 เกิดจากการถ่ ายทอดทางกรรมพันธุ์ (familial
colorectal carcinoma)
- ที่เหลือส่ วนใหญ่ เกิดจากปัจจัยสิ่ งแวดล้ อมร่ วมกับการ
เปลีย่ นแปลงของยีน
*Khuhaprema T, Srivatanakul P, Attasara P, Sriplung H, Wiangnon S, Sumitsawan
Y, editors. Cancer in Thailand. Vol V, 2001-2003. Bangkok; 2010.
ยีน Glutathione S-transferase (GSTs)
• มีส่วนเกีย่ วข้ องกับโรคมะเร็งหลายชนิด
• เป็ นยีนที่สร้ างเอ็นไซม์ ใน phase II ซึ่งเป็ นเอ็นไซม์ ที่ช่วยลด
ความเป็ นพิษของสารก่ อมะเร็งในร่ างกาย
• มีกลุ่มย่ อย (subfamily) 8 กลุ่มได้ แก่ alpha, kappa, mu, pi,
sigma, theta, zeta และ omega
ยีน GSTO
• ให้ เอ็นไซม์ GSTO ที่ช่วยลดความเป็ นพิษของสาร arsenic ที่
ปนเปื้ อนในนา้ และอาหาร
• การแสดงออกของ GSTO สู ง (overexpression) ใน
เซลล์ มะเร็งที่ดื้อต่ อยาเคมีและรังสี
• ที่พบในคนมีสองชนิดคือ GSTO1 และ GSTO2
ยีน GSTO2
• ให้ โปรตีน GSTO2 ซึ่งประกอบด้ วย amino acid 243 ชนิด
• ความหลากหลายของยีนชนิดนีเ้ กิดจากการสั บเปลีย่ นของ
N142D (N=asparagine , D= aspartic acid )
• ระดับการแสดงออก (expression) ของ GSTO2 wild-type
(N142) allozyme สู งกว่ าของGSTO2 variant (D142)
allozyme
วัตถุประสงค์
เพื่ อ เปรี ย บเที ย บดู ค วามสั มพั น ธ์ ระหว่ างความ
หลากหลายของยีน GSTO2 กับผลทางพยาธิคลินิกและอัตรา
การอยู่รอดของผู้ป่วยมะเร็งลาไส้ ใหญ่ และไส้ ตรง
วัสดุและวิธีการ
ผู้ป่วย
• ผู้ ที่ ไ ด้ รั บการผ่ าตั ด และมี ผ ลทางจุ ลพยาธิ วิ ท ยาเป็ น
adenocarcinoma ของลาไส้ ใหญ่ และไส้ ตรงจากสถาบันมะเร็ ง
แห่ งชาติจานวน 89 ราย
• อายุระหว่ าง 33-84 ปี
• เพศชาย 46 ราย เพศหญิง 43 ราย
• ผู้ป่วยไม่ ได้ รับรังสี รักษาหรื อเคมีบาบัดก่ อนการผ่ าตัด
วิธีการสกัดดีเอ็นเอ
บล๊ อคชิ้นเนื้อที่ฝังพาราฟิ น

ตัด section ขนาด 10 µm จานวน 2-4 แผ่ น
 Deparaffiniseด้ วย xylene
ล้ าง pellet ด้ วย absolute ethanol

ทาตามคาแนะนาที่แนบมากับชุดนา้ ยา AquaPure DNA Isolation Kit
(Bio-Rad)

นาดีเอ็นเอไปเก็บที่ตู้อุณหภูมิ -80˚ ซ จนกว่ าจะใช้
การตรวจหาความหลากหลายของยีน GSTO2*N142D
ตรวจโดยใช้ วธิ ี polymerase chain reaction-restriction fragment length
polymorphism (PCR-RFLP)
ผลทีไ่ ด้ พบ genotype 3 ชนิด ดังนี้
- A/A wild-type homozygote: 185 bp fragment
- G/G homozygote: 122 & 63 bp fragments
- A/G heterozygote: 185, 122 & 63 bp fragments
การวิเคราะห์ ทางสถิติ
• ใช้ Chi-square ในการทดสอบดูความสั มพันธ์ ระหว่ างความ
หลากหลายของยีน GSTO2 กับผลทางพยาธิคลินิกของผู้ป่วย
• วิเคราะห์ ผลความหลากหลายของยีน GSTO2 ต่ ออัตราการอยู่
รอดของผู้ป่วยโดยใช้ Kaplan–Meier survival และ log-rank
test
ผลการศึกษา
ตารางที่ 1 ความหลากหลายของยีน GSTO2 กับผลทางพยาธิคลินิกของผู้ป่วยมะเร็งลาไส้ ใหญ่ และไส้ ตรง
ผลพยาธิคลินิก
อายุ (ปี )
≤50
>50
เพศ
ชาย
หญิง
ระยะของโรค
I + II
III + IV
ผลทางจุลพยาธิ
WD
MD+PD
EGFR
Negative
Positive
N142/N142
N142/D142+D142/D142
P
33(47.1)
15(78.9)
37(52.9)
4(21.1)
0.014
25(54.3)
23(53.5)
21(45.7)
20(46.5)
0.935
25(59.5)
21(50.0)
17(40.5)
21(50.0)
0.381
21(48.8)
27(58.7)
22(51.2)
19(41.3)
0.351
20(64.5)
28(48.3)
11(35.5)
30(51.7)
0.143
1 .0
v ar i an t al l el e
Overall Survival
0 .8
0 .6
w i l d-ty pe
0 .4
P = 0 .0 1 5
0 .2
0 .0
0
50
100
150
T ime (Months)
รูปที่ 1 อัตราการอยู่รอดของผู้ป่วยแบ่ งตามยีน GSTO2 ชนิด wild-type
(N142/N142) และ variant (N142/D142+D142/D142)
สรุป
ผลที่ได้ จากการศึ กษานี้แสดงว่ า GSTO2 ชนิด wild-type
เกี่ ย วข้ อ งกั บ การพยากรณ์ โ รคที่ ไ ม่ ดี ดั ง นั้ น จึ ง น่ า จะใช้ ความ
หลากหลายของยีนดังกล่ าวเป็ นตัวบ่ งชี้การพยากรณ์ โรคเพื่ อการ
วางแผนการรั กษาอย่ างเหมาะสมในผู้ป่วยมะเร็งลาไส้ ใหญ่ และไส้
ตรงต่ อไป
Related documents